เรียน
นักศึกษา 4
สาขาวิทยาบริการ
เพื่อเป็นความเข้าใจที่ถูกต้อง
ปรัชญาสารัตถะ นั้น เป็นปรัชญาที่ศึกษาเรื่อง แก่นสาร เนื้อหาสาระ ที่สำคัญ
นักการศึกษาไทย ส่วนใหญ่นำมาใช้การจัดการศึกษาในโรงเรียนลักษณะ นาฏศิลป์ และศิลป บทบาทสมมุติส่วนใหญ่นักศึกษา จะนำเรื่องศิลป พื้นมามาเป็น บทบาทสมมุติ
เวลานำเสอนรายงาน นักศึกษา ไม่ค่อยได้ นำเสนอ ประเต็นที่ เกี่ยวกับ วิธีการเรียน
การสอน การวัดประเมินผล ลักษณะของครู ลักษณะของโรงเรียน และลักษณะของผู้บริหาร
ทำให้นักศึกษาบ้างสาขา
มาถามผมว่า เราสามารถ ใช้ในโรงเรียนปกติได้ไหม ผมได้อธิบายไปแล้ว ว่า สารัตถะ Essentialism คือ แนวคิดปรัชญาการศึกษาที่ เน้นการอนุรักษ์ การถ่่ายทอด
ความรู้และวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง
มีความหมายใน 2 ด้าน ด้านมหภาค และ จุลภาค ด้านมหภาค Macro คือ
การพัฒนาให้สังคม มีความเป็นอยู่ที่ดี ขึ้น ในประเด็น ดังนี้ ให้
สังคมเกิดการเจริญเติบโต มีเสถียรภาพ สังคมน่าอยู่มีการอนุรักษ์ วัฒนะรรม
ขนมธรรมเนียมการเรียนรู้ เพื่อสืบทอดสิ่งดีงาม ยุติธรรมในสังคม
และเป็นพลเมืองที่ดีของโลกและสังคมเพื่ออนุรักษ์ให้คงอยู่ ค่อยๆ เปลี่ยนแปลงได้
ส่วนด้าน จุลภาค Micor คือการมุ่นเน้น พัฒนาตนเอง (ผู้เรียน
และครอบครัว) วัดได้จาก พฤติกรรมของผู้เรียน การตัดสินใจ
ในการเลือกตามแบบที่อนุรักษ์ เพื่อถ่ายทอดต่อไปในสังคม
ดังนั้น
ถ้าจะให้เห็นชัด เวลาเอาบทบาทสมมุุติมาแสดง ถ้ามองในประเด็น
โรงเรียนที่ไม่ได้สอนศิลป ก็ ให้ดูในประเด็น ว่า ครูบังคับ ให้นักศึกษา
ท่องเนี้อหาบทเรียน สอนตามทฤษฎี ครูเป็นใหญ่ เช่น โรงเรียน มีชื่อ ที่สอนเด็ก ให้
เขี้ยน อ่าน ตามที่ครู บอก และมีการสอบ ตามเนื้อหาที่เรียน ถ้าเขียน ผิด
ครูก็ทำโทษให้คัดใหม่ ทำใหม่ เยอะ นักเรียนจะรู้สึกว่า ครูทำโทษ คือการ ฝึกให้เก่ง
อันนี้ ก็ได้ อาจไม่ใช้ เอาเฉพาะ การละเล่นพื่นบ้านอยางเดียว
แต่ถ้่าใครเอาการละเล่นพื้นบ้านมาเป็นบทบาทสมมุติ น่าจะมีการสรุปประเด็นที่
น่าจะไปใช้ apply
ไม่ใช่แล่นเฉย ๆ แล้วไม่มีการ apply ครับ
อย่าง ศร๊ษเกษ ครับ เข้านำเสอนบทบาทสมมุติผมว่าวันนี้ น่าจะตรงที่สุดครับ
Pl .ให้ดูจาก ppt
ของผม หรือ ดูจากตำราท่านอาจารย์ พิมพ์พรรณ หรือดูจาก ppt ท่ี่ท่านนำมาเสนอ ก็ได้ ว่า ลักษณะการอธิบาย ใน วิธีการเรียนการสอน ครู
การวัดประเมินผล น่าจะโยงเข้าประเด็นครับ
นับถือ
ณรัฐ
แก้
คำผิด ด้วยครับ
แก่นสาร หรือ แก่นสาระของความรู้
แก่นสาร หรือ แก่นสาระของความรู้
Micro.
จุลภาค
การอนุรักษ์
ถ่ายทอด วัฒนธรรม อันดีงาม ในประเด็น นี้ อาจ เป็น
การบังคับขัดใจเด็กเพื่อให้เด็กได้รับการฝึกฝน และทำได้ และเด็กก็ไม่ได้รู้สึก
ว่าการบังคับ เป็นการทำโทษ ครับ
สุโขทัย
ได้เอาเรื่อง
อังกะลุง มาแสดงบทบาทสมมุติ ได้เล่าประวัติความเป็นมา ว่ามาจากชวา ร5นำเข้ามา และอธิบายที่เป็นมา พร้อมยกงค์ประกอบของ อังกะลุง ว่ามี๔ ส่วน.
เส็จแล้ว ก็จบ แล้วก็บอกว่า อันนี้เป็นบทบาทสมมุติ ของสารัตถะ เท่านั้นครับ
ขอนแก่น
ได้นำเรื่อง
แม่งูกินหัวกินหาง มาแสดง แล้วก็จบ แล้วก็จบ แล้วก็บอกว่า เป็นบทบาทสมมุติของ
สารัตถะ
นครราชสีมา
ได้นำเรื่อง รำโป้งราง มาสอนให้ดู แล้วก็แบ่ง นักศึกษา ชายกลุ่มหญิงกลุ่ม แล้วก็จบ
ศรีษเกษ
ใช้วิธีการสอน
แบบสารัตถะ
สรุปถ้า
จะให้ครบ ประเด็น คือ ต้องเล่าประวัติความเป็นมา ของการละเล่นพื้นบ้าน
ว่ามีความสำคัญย่างไร ที่สำคัญ ในระดับมหภาคคือ การละเล่นพื้นบ้าน
ทำให้เห็นการอนุรักษ์ เพื่อส่งผลความสมานฉันของสังคม ให้เกิดการทำงานเป็นทีม
เกิดระบบของสังคมที่มีคุณค่า สำหรับการอนุรักษ์ ทำนองนั้น ส่วนระดับจุลภาค คือ
ให้นักศึกษา มีพฤติกรรมที่ดีงามเหมะสม นำพฤติกรรม และการตัดสินใจ
เป็นวิธีการพัฒนาตนเองที่ได้จากแนวตคิดสารัตถะ
ที่ตนเงเห็นประโยชน์แลเต้องการอนุรักษ์และถ่ายทอดให้ คนรุ่นต่อๆ ไป
อันนี้จะทำให้เห็น ภาพในเชิงนามธรรม และจับต้องได้ของแนวคิดสารัตถะ ครับ
แต่ถ้าไม่ใช่
ศิลปพื้นบ้านได้ไหม ก็น่าจะได้ เพราะทางกลุ่ม นครราชสีมา นำเสอนว่า
วิชาที่ใช้สอนแนวสารัตเป็นเวลา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดนตรี
สอดคล้องกับวุฒิภาวะผู้เรียน
ผมได้ยกตัวอย่างไปว่า
ในระดับประถม หรือระดับมัธยม เราก็ใช้แนวสารัตถะได้ เช่นกัน ในวิชาคณิตศาสตร์
ที่ครูชอบให้ท่องให้เขียน ถ้าท่องผิดเขียน ผิด นักเรียนจะถูกทำโทษ ให้เขียน
ให้ท่อง จนกว่าจะได้. อันนี้ก็เป็นแนวทางสารัตถะเช่นกัน ครับ
หวังว่าจะได้ความกระจ้างชัดขึ้นครับ
นับถือ
ณรัฐ
Sent
from my iPad
On
20 ส.ค. 2556, at 23:36, "n. wattanapanit" <narat1904@yahoo.com> wrote:
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น